Mathematic Experiences for Early Childhood
แฟ้มสะสมผลงานวิชาการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วันอาทิตย์ที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2556
วันพฤหัสบดีที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
สรุปงานวิจัยที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์
การวิเคราะห์แบบฝึกทักษะความพร้อมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย/ อรศิริ วงศ์สิริศร
สรุป
การวิจัยนี้มีจุุดมุ่งหมายเพื่อวิเคราะห์ลักษณะทั่วไปปริมาณเนื้อหาและความสอดคล้องกับจุุดประสงค์ของแต่ละทักษะตามแนวการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
กลุุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบฝึกความสัมพันธ์พื้นฐานทางศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ผลการวิจัยพบว่า
1.
รูปเล่มเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าแนวตั้ง มี 16 หน้า
ภาพประกอบเป็นภาพวาดลวดลายเหมือนจริง ส่วนใหญ่เป็นภาพสัตว์ ผลไม้ ดอกไม้
2. เนื้อหาของแบบฝึกความพร้อม มีทักษะการนับสูงสุด
รองลงมาเป็นทักษะการจำแนกความเหมือนความแตกต่าง การใช้สายตาและมือให้สัมพันธ์กัน
และน้อยที่สุดคือ ทักษะการเปรียบเทียบ ทักษะการเขียนเลข
3. ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ การใช้สายตาและมือให้สัมพันธ์กันมีความสอดคล้องมากที่สุด
รองลงมาการเรียนลำดับ
แบบฝึกความพร้อมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยของแต่ละทักษะตามแนวการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์มีความเหมาะสมกับการนำมาใช้เป็นแบบเรียนและครูสามารถนำมาใช้เป็นการเรียนการสอนได้
วันอังคารที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
บันทึกการเรียนครั้งที่ 16 วันที่ 19/02/2556
กิจกรรมการเรียนการสอน
- อาจาย์ให้เขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวิชานี้
1. ความรู้ที่ได้มีอะไรบ้าง
-ได้รู้หลักการ ความหมาย ความสำคัญ ในวิชานี้
-ได้รู้วิธีการจัดกิจกรรมสำหรับเด็กปฐมวัยที่ถูกต้อง
- ได้รู้ว่าสื่อที่ใช้เกี่ยวกับการจัดประสบการณ์ในคณิตศาสตร์ควรจะเป็นอย่างไร
2. ทักษะที่ได้มีอะไรบ้าง
-ได้เทคนิคและวิธีการสอนที่ถูกต้อง
-ได้วิธีการทำสื่อที่หลากหลาย
3. วิธีการสอน
-อาจารย์จัดการเรียนการสอนแบบบรรยาย และมีการใช้สื่อมาสอนที่หลากหลาย เช่นการสอนโดยใช้เเม๊ปปิ้ง การนำสื่อจริงมาใช้
- อาจาย์ให้เขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวิชานี้
1. ความรู้ที่ได้มีอะไรบ้าง
-ได้รู้หลักการ ความหมาย ความสำคัญ ในวิชานี้
-ได้รู้วิธีการจัดกิจกรรมสำหรับเด็กปฐมวัยที่ถูกต้อง
- ได้รู้ว่าสื่อที่ใช้เกี่ยวกับการจัดประสบการณ์ในคณิตศาสตร์ควรจะเป็นอย่างไร
2. ทักษะที่ได้มีอะไรบ้าง
-ได้เทคนิคและวิธีการสอนที่ถูกต้อง
-ได้วิธีการทำสื่อที่หลากหลาย
3. วิธีการสอน
-อาจารย์จัดการเรียนการสอนแบบบรรยาย และมีการใช้สื่อมาสอนที่หลากหลาย เช่นการสอนโดยใช้เเม๊ปปิ้ง การนำสื่อจริงมาใช้
วันจันทร์ที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
บันทึกการเรียนครั้งที่ 15 วันที่ 12/02/2556
กิจกรรมการเรียนการสอน
วันนี้สอบสอน เรื่องอวัยวะภายนอกร่างกาย
คำแนะนำของอาจารย์
วันจันทร์ เรื่องส่วนประกอบของอวัยวะภายนอก (ชวนชม)
-การใช้คำถาม
-เด็กๆอวัยวะภายนอกมีอะไรบ้างค่ะ
-เด็กๆรู้จักอวัยวะภายนอกอะไรบ้างค่ะ
-เด็กๆบอกครูได้ไหมว่าอวัยวะภายนอกของเด็กๆมีอะไรบ้างค่ะ
สิ่งที่ต้องปรับ
-ต้องมีภาพมาแปะใช้คำเขียนไม่ได้
-ต้องเขียนชื่ออวัยวะภายนอกให้ครบ ถ้าเด็กตอบไม่ครบก็ต้องเขียนให้ครบ
วันอังคาร เรื่องลักษณะของอวัยวะภายนอก(รัตติยา)
สิ่งที่ต้องปรับ
-เราไม่จำเป็นต้องเอามาทุกอย่าง
-ให้เด็กสังเกตอวัยวะของเพื่อน(สังเกตจากของจริง)
-ให้เด็กๆดูรูปร่างของเพื่อนเเละสัมผัส สี พื้นผิว รูปทรง
วันพุธ เรื่อง หน้าที่ของอวัยวะภายนอก (นีรชา)
สิ่งที่ต้องปรับ
-เพิ่มการร้องเพลง
-ควรทำมายเเม็ฟ และมายแม็ฟต้องมีภาพติดแทนสัญญลักษ์
-บอกหน้าที่ของอวัยวะในเพลงหลังจากนั้นค่อยบอกส่วนอื่นๆ
-สรุปคืออวัยวะมีหน้าที่เเตกต่างกัน
วันพฤหัสบดี เรื่อง ประโยชน์ของอวัยวะภายนอก (จุฑามาศ)
สิ่งที่ต้องปรับ
-ต้องบอกให้ถึงประโยชน์ เช่น มือที่ให้เราสามารถถือของจากตลาดไปให้แม่ที่บ้านได้ มือสามารถทำอาหารให้เรากินได้
วันศุกร์ เรื่อง การดูแลรักษาอวัยวะภายนอก (สว่างจิตร์)
สิ่งที่ต้องปรับ
-ต้องหาภาพที่เกี่ยวกับการดูแลรักษาอวัยวะภายนอก
-สอนสิ่งที่ไม่มีโอกาสทำในห้องเรียน
บันทึกการเรียนครั้งที่ 14 วันที่ 05/02/2556
กิจกรรมการเรียนการสอน
สอบสอนกลุ่มที่4 หน่วยเรื่องกระดุม
วันที่ 1
นำเข้าสู่บทเรียนโดย
1. ครูร้องเพลง
2.ครูเเจกภาพที่เป็นจิกซอ รูปกระดุม ให้เด็กเป็นบางคน
3. .ให้เด็กนำภาพที่ได้มาต่อหรือวางให้เกิดเป็นภาพที่สมบูรณ์
4. เด็กๆบอกคุณครูซิค่ะว่า เป็นภาพอะไร
ชนิดของกระดุม
- กระดุมที่เด็กๆรู้จักมีอะไรบ้างค่ะ เด็กบอกเเละครูก็เขียนตามที่เด็กบอกไว้บนกระดาน
เด็กๆอยากทราบไหมค่ะว่าในขวดนี้มีกระดุมทั้งหมดกี่เม็ด
(อยู่ในการคาดคะเน คือการวัดเเบบไม่เป็นทางการ)
- ครูนับกระดุมในขวด
1 2 3 4 5 6 7
ลักษณะของกระดุม
กระดุมโลหะ กับ กระดุมอโลหะ จะรู้ได้อย่างไรก็ใช้เเม่เหล็กมาดูด
วันที่ 2
-ครูส่งกระดุมให้เด็กๆดู
วันที่ 3
-ถามประโยชน์ของกระดุมว่ามีประโยชน์อย่างไร
วันที่ 4
-การดูเเละรักษากระดุม
-การนับเเละจับสีของกระดุม
บันทึกการเรียนครั้งที่ 13 วันที่ 29/01/2556
กิจกรมมการเรียนการสอน
วันนี้เรียนร่วมทั้ง 2 กลุ่ม เพราะอาจารย์นัดคุยเรื่องกิจกกรรมของคณะศึกษาศาสตร์โดยมีความรายละเอียดดังนี้
- รำไทย (นางสาวสว่างจิตร์)
-ร้องเพลง(นางสาวรัตติยา)
-พิธีกร(นางสาวปราณิตา เเละนางสาวรุ่งนภา)
-โฆษณา(นางสาวนิศาชลเเละนางสาวละไม)
การเเสดงโชว์
-ลิปซิ้งเพลง(นางสาวจุฑามาศเเละนางสาวนีรชา)
-เต้นประเพลง(นางสาวพลอดปภัส นางสาวเกตวดีเเละนางสาวมาลินี)
-ละครใบ้(นางสาวอัจฉราเเละนางสาวจันทรสุดา)
-ละครตลก(นางสาวดาราวรรณ นางสาวชวนชม เเละนางสาวณัฐชา)
ผู้กำกับหน้าม้า
-นางสาวนฎาเเละนางสาวพวงทอง
เเละอาจารย์ถามว่าเนื้อหาที่เรากล่าวมาทั้งหมดนี้เราสามารถนำมาปรับใช้ในการจัดประสบการณ์ได้อย่างไรบ้าง
บันทึกการเรียนครั้งที่ 12/012/2556
วันอังคารที่ 22 เดือน มกราคม พ.ศ.2556
กิจกรรมการเรียนการสอน
เเต่ละกลุ่มออกมานำเสนอหน่วยของตนเอง
หน่วยเรื่องขนมไทย
วันที่ 1
จับคู่
- ภาพกับคำ เเละภาพกับตัวเลข
-รูปภาพกับรูปภาพ
-ความสัมพันธ์สองแกน
การเเยกประเภท
-ขนมชั้น รูปทรงสี่เหลี่ยมจตุรัส
-ขนมถ้วยรูปทรงกลม
-ขนมเม็ดขนุนรูปวงรี
วันที่ 2
การเเยกประเภทของขนม
นับจำนวน
จับคู่ภาพ
หน่วยเรื่องข้าว
วันที่ 1
ส่วนประกอบของต้นข้าว
ลักษณะของต้นข้าว
-เมล็ดข้าวสารเจ้า
-เมล็ดข้าวสารเหนียว
-เมล็ดข้าวเหนียวดำ
วันที่2
การเก็บรักษาข้าว เพื่อไว้กินนานๆ ป้องกันมอด
ภาชนะที่เก็บข้าวมาให้เด็กดู
- ถัง
- กระบุง
- กระสอบ
- ยุ้งฉ่าง
รูปเรขาคณิตของภาชนะเก็บรักษาข้าว
-วงกลม -สามเหลี่ยม -สี่เหลี่ยมจัตุรัส -สี่เหลี่ยมพื้นผ้า -ทรงกระบอก
ที่เก็บข้าวมี4 ชนิด
-เก็บข้าวไว้ในถังเด็กๆเก็บไว้ที่บ้าน
- เก็บไว้ในกระสอบเก็บเพื่อเราจะเอาไปขาย
-ยุ้งฉ่างไว้เก็บข้าวเปลือก
หน่วยเรื่อง กล้วย
ชนิดของกล้วย
ชื่อของกล้วยเเต่ล่ะชนิด
ข้อควรระวัง
- ผูกเรื่องเป็นนิทาน
-ต้นกล้วยอยู่หลังบ้าน (ตำเเหน่ง)
-เดินไปสวนหลังบ้านผ่านอะไรบ้าง
-เอาไม้มาพยุงต้นกล้วยให้มันสูงขึ้น (สูง-ต่ำ)
-ล้อมรั่วไม่ให้กล้วยหาย (พื้นที่)
การขยายพันธ์กล้วย
-ใช้กระดาษวัด ตัดกระดาษเป็นรูปมือ
-ขุดดิน เอาหน่อกล้วยมาปลูก พรวนดิน รดน้ำ
-ใน1เเถวมีต้นกล้วยกี่ต้น
-เเบ่งกลุ่มที่ขยายพันธ์กล้วยได้มากที่สุด
กิจกรรมการเรียนการสอน
เเต่ละกลุ่มออกมานำเสนอหน่วยของตนเอง
หน่วยเรื่องขนมไทย
วันที่ 1
จับคู่
- ภาพกับคำ เเละภาพกับตัวเลข
-รูปภาพกับรูปภาพ
-ความสัมพันธ์สองแกน
การเเยกประเภท
-ขนมชั้น รูปทรงสี่เหลี่ยมจตุรัส
-ขนมถ้วยรูปทรงกลม
-ขนมเม็ดขนุนรูปวงรี
วันที่ 2
การเเยกประเภทของขนม
นับจำนวน
จับคู่ภาพ
หน่วยเรื่องข้าว
วันที่ 1
ส่วนประกอบของต้นข้าว
ลักษณะของต้นข้าว
-เมล็ดข้าวสารเจ้า
-เมล็ดข้าวสารเหนียว
-เมล็ดข้าวเหนียวดำ
วันที่2
การเก็บรักษาข้าว เพื่อไว้กินนานๆ ป้องกันมอด
ภาชนะที่เก็บข้าวมาให้เด็กดู
- ถัง
- กระบุง
- กระสอบ
- ยุ้งฉ่าง
รูปเรขาคณิตของภาชนะเก็บรักษาข้าว
-วงกลม -สามเหลี่ยม -สี่เหลี่ยมจัตุรัส -สี่เหลี่ยมพื้นผ้า -ทรงกระบอก
ที่เก็บข้าวมี4 ชนิด
-เก็บข้าวไว้ในถังเด็กๆเก็บไว้ที่บ้าน
- เก็บไว้ในกระสอบเก็บเพื่อเราจะเอาไปขาย
-ยุ้งฉ่างไว้เก็บข้าวเปลือก
หน่วยเรื่อง กล้วย
ชนิดของกล้วย
ชื่อของกล้วยเเต่ล่ะชนิด
ข้อควรระวัง
- ผูกเรื่องเป็นนิทาน
-ต้นกล้วยอยู่หลังบ้าน (ตำเเหน่ง)
-เดินไปสวนหลังบ้านผ่านอะไรบ้าง
-เอาไม้มาพยุงต้นกล้วยให้มันสูงขึ้น (สูง-ต่ำ)
-ล้อมรั่วไม่ให้กล้วยหาย (พื้นที่)
การขยายพันธ์กล้วย
-ใช้กระดาษวัด ตัดกระดาษเป็นรูปมือ
-ขุดดิน เอาหน่อกล้วยมาปลูก พรวนดิน รดน้ำ
-ใน1เเถวมีต้นกล้วยกี่ต้น
-เเบ่งกลุ่มที่ขยายพันธ์กล้วยได้มากที่สุด
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)